ภาพลักษณ์ความเป็นไทยล้านนาประยุกต์ให้เข้ากับวิถีการนวดไทย
- การตกแต่งภายนอกและภายใน ของสถาปัตยกรรมและการตกแต่งแบบอัตลักษณ์ล้านนาภาคเหนือของไทยหรือล้านนามีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมีวัฒนธรรมและประเพณีที่สืบทอดต่อๆกันมาจากรุ่นสู่รุ่นในเรื่องของสถาปัตยกรรมพบว่ามีเอกลักษณ์ของตนเองได้รับอิทธิพลทั้งจากภายในและภายนอกที่ส่งผลให้รูปแบบของสถาปัตยกรรมเปลี่ยนแปลงไปตามยุคตามสมัยสถาปัตยกรรมเก่าที่ลงเรืออยู่เป็นสถาปัตยกรรมทางศาสนาเป็นส่วนใหญ่ส่วนอาคารบ้านเรือนค่อยๆเลือนหายไปเนื่องจากวัสดุที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นไม้จึงไม่ทนทานต่อสภาพอากาศผุพังไปตามสภาพการณ์ สถาปัตยกรรมภายนอกและภายในเป็นลักษณะของกายภาพที่สัมผัสด้วยตาเปล่าซึ่งเป็นสัมผัสที่สำคัญอย่างยิ่งในบรรดาประสาทสัมผัสของการรับรู้สถานประกอบการสปาในจังหวัดเชียงใหม่มีความแตกต่างกันในเรื่องของสถาปัตยกรรมภายนอกและภายในเช่นเป็นสถานประกอบการที่นำเอาอาคารบ้านพักอาศัยมาดัดแปลงให้เป็นปรับปรุงใช้สอดคล้องกับการใช้งานสถานประกอบการที่อยู่ในอาคารพาณิชย์หรือสถานประกอบการที่สร้างขึ้นมาใหม่เพื่อสปาโดยตรง จะเห็นได้ว่าในเรื่องของสถาปัตยกรรมภายในและการตกแต่งพบว่ามีการใช้เครื่องตกแต่งของพื้นเมืองในภาคเหนือเช่นรูปภาพแขวนไม้แกะสลักโคมไฟกระดาษภาพพิมพ์ลวดลายองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมภายในได้แก่พื้นผนังเพดานนั้นใช้วัสดุหลายประเภทแต่คล้ายกันคือพื้นห้องนิยมใช้ไม้กระเบื้องเคลือบกระเบื้องดินเผาเป็นส่วนใหญ่โดยเน้นเรื่องการดูแลรักษาการทำความสะอาดผนังนิยมใช้ผนังฉาบปูนทาสีและผนังไม้ส่วนเพดานนิยมใช้ฝ้าฉาบเรียบทาสีและฝ้าเพดานใช้ทาสีในกรณีที่ถ้าเพดานสูงจะตกแต่งด้วยโคมไฟแขวนพัดลมเพดาน โคมไฟกระดาษเป็นต้นค่ะ 2. สิ่งที่แสดงภาพลักษณ์และการออกแบบบรรจุภัณฑ์และอุปกรณ์ตกแต่ง สถานประกอบการสปาในจังหวัดเชียงใหม่นำแนวคิดในการรักษาสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีและอัตลักษณ์วัฒนธรรมล้านนาอย่างต่อเนื่องมานำเสนอในให้มีภาพลักษณ์ความเป็นไทยล้านนาประยุกต์คือการทำอย่างไรในการประยุกต์อัตลักษณ์เชิงสุนทรีแบบล้านนาให้สอดคล้องกับประโยชน์การใช้ some Spa และสอดคล้องกับแนวโน้มแฟชั่นสามารถพัฒนาอัตลักษณ์เชิงสุนทรีแบบสไตล์ล้านนาประยุกต์ให้กับสถานประกอบการสปาในภาคเหนือให้มีสไตล์ที่แตกต่างหลากหลายโดยมีการสร้างตราสินค้าที่ผ่านการออกแบบบรรจุภัณฑ์และอุปกรณ์สปาที่ใช้ใการตกแต่งของใช้ในสถานประกอบการค่ะ